บทความวิจัย/วิชาการ
Research/Original Articles
   

2019 (พ.ศ.2562)

อภิรัฐ คำวัง. 2562. “คุรบานี” จักรวาลในดวงจิต : เรียนรู้ปรัชญาจากสัตว์ในภาพพจน์. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 38(1), 65-85.
Aphirat Kamwang. 2019. “Gurbani”, universe in the mind: Learning philosophy from animal figurative language. Journal of Language and Culture, Mahidol University, 38(1), 65-85. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JLC/article/view/241373

2017 (พ.ศ.2560)

อภิรัฐ คำวัง. 2560. ปัญจาบ อินเดีย : ประวัติศาสตร์และปัจจุบัน ความเป็นรัฐ สังคมวัฒนธรรม และศาสนาซิกข์, วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 36(2), 95-116.
Aphirat Kamwang. 2017. The Indian Punjab: Past and present, statehood, socio-culture, and Sikhism. Journal of Language and Culture, Mahidol University, 36(2), 95-116.

2016 (พ.ศ.2559)

อภิรัฐ คำวัง. 2559. ศาสดาในรูปพระมหาคัมภีร์แห่งศาสนาซิกข์ : ประวัติศาสตร์ ความหมาย และองค์ประกอบ (อรรถาธิบายเชิงเปรียบเทียบ). วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ, 18(1), 32-42.
Aphirat Kamwang. 2016. The Sikh Guru in the Form of the Holy Book: History, Meaning and Composition (Comparative Explanation). Institute of Culture and Arts Journal, 18(1), 32–42. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jica/article/view/80850

อภิรัฐ คำวัง. 2559. พหุลักษณ์ พาหุรัด : พ่อค้าชาวปัญจาบในสังคมไทย. การอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล, 71-93.

2015 (พ.ศ.2558)

อภิรัฐ คำวัง. 2558. พ่อค้าชาวซิกข์ ณ หัวเมืองอีสาน. วารสารลุ่มแม่น้ำโขง, 11(2), 113-138.
Kamwang, A. (2015). Sikh Merchants in the Isan Region of Thailand. Journal of Mekong Societies, 11(2), 113–138. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/mekongjournal/article/view/38766

อภิรัฐ คำวัง. 2558. สถานภาพภาษาปัญจาบในสังคมไทยในปัจจุบัน. วารสารมนุษยศาสตร์ (มหาวิทยาลัยนเรศวร), 12(1), 45-57.
Kamwang, A. (2015). The Status of Punjabi Language in The Thai Sikh Communities at Present. Journal of Humanitiesm, Naresuan University, 12(1), 45-57.

2013 (พ.ศ.2556)

อภิรัฐ คำวัง. 2556. “เซว่า” ใน “ครัวพระศาสดา” กับสังคมวัฒนธรรมของชาวไทยซิกข์ : กรณีศึกษาคุรุดวาราศรีคุรุสิงห์สภา (กรุงเทพมหานคร). วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 4(2), 1-25.
Kamwang, A. (2013). Sewa (Social Service) in the Guru kaLangar (Free Kitchen) and Socio-cultural Features of Thai Sikhs: A Case Study in Gurdwara Sri Guru Singh Sabha (Bangkok). Humanity and Social Science Journal, Ubol Ratchathani University, 4(2), 1-25. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/human_ubu/article/view/85366

2011 (พ.ศ.2554)

อภิรัฐ คำวัง. 2554. ปรัชญาว่าด้วย “หนึ่งดวงจิตวิญญาณในสองร่าง” และพิธีมงคลสมรส “อนันต์การัช” ของชาวไทยซิกข์. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 23(1), 215-252.
Kamwang, A. (2011). The Principle of Sikhism on “One soul in two bodies” and the Wedding Ceremony “Anand Karaj” of the Thai Sikh Community. Journal of Social Sciences, Chiangmai University, 23(1), 215-252. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jss/article/view/170618

อภิรัฐ คำวัง. 2554. ชาวซิกข์ในสยามและล้านนา ว่าด้วยเรื่องประวัติศาสตร์การตั้งชุมชน ศาสนา และการค้า. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 28(2), 67-94.
Aphirat Kamwang. 2011. Sikhs in Siam and Lanna: History of Settlement, Religion and Trading. Humanities and Social Sciences, Khon Kaen University, 28(2), 67-94. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/HUSO/article/view/6330

2010 (พ.ศ.2553)

อภิรัฐ คำวัง. 2553. รองเท้าในวิถีชาวซิกข์ : ปรัชญาจากปัญจาบสู่เจ้าพระยา. วารสารอักษรศาสตร์ (มหาวิทยาลัยศิลปากร), 32(1), 153-175.
Kamwang, A. (2010). The Shoes in Sikh Way : the Philosophy from Punjab to Chao Praya. Journal of the Faculty of Arts, Silpakorn University, 32(1), 153–175. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jasu/article/view/239302

Page View: web counter