แนวคิดการพึงพาตนเองของมหาตมา คานธี
52
เปรียบเสมือนเมลดและรากของต้นไม้ ส่วนลาต้นและความคิดทางเศรษฐกิจและ
สงคมของคานธีเปนดอกและผล แต่วิธีทีคานธีแสดงให้เราเหนถึงการต่อส้โดยไม่ใช้
ความรนแรง หรือสิงทีเขาเรียกว่า สตยาเคราะห์ (
Satyagraha
) ท้งหมดนี ้รวมกนแล้ว
เปนความคิดท้งหมดเพียงความคิดเดียว ซึงเปนแนวคิดการพึงพาตนเองด้วยรากฐาน
ของตนเอง ความคิดท้งหมดได้แสดงออกเปนคร้งแรกในหนงสือทีใช้ในการสมมนาที
มีชือว่า
Hind Swaraj in Gujarati
เมือปี 1909 หนงสือเล่มนี้เปนเพียงหนงสือเล่ม
เดียวทีคานธีแปลเปนภาษาองกฤษด้วยตนเอง ซึงเขาแปลชือหนงสือว่า “
The Indian
Home Rule
” (กฎเกณฑ์ในบ้านของคนอินเดีย) ในหนงสือเล่มน้นได้ให้คาจากดความ
ทีสาคญของคาว่า
Swaraj
หรือ กฎในบ้าน
Swaraj
หมายถึงกฎเกณฑ์ของพลเมืองที
เปนชาวอินเดียแต่ด้งเดิมและพลเมืองทีเปนชาวอินเดียทวไป เราสร้างกฎเกณฑ์ของ
เราเองแทนทีจะใช้กฎขององกฤษ เราชกธงชาติสามสีของอินเดียแทนทีจะชกธงชาติ
ของสหราชอาณาจกร คาจากดความของ “กฎเกณฑ์ในบ้าน” ทีคานธีได้ให้ไว้น้นมี
ความหมายลึกซึ้งมากกว่าน้น เพราะไม่ใช่แค่กฎเกณฑ์ของตนเอง แต่เปนกฎเกณฑ์ที
นอกเหนือจากเพือตนเอง ผ้ทีควบคมตนเองได้จะเปนผ้ควบคมโลกได้ รวมท้งควบคม
บรรยากาศทีอย่รอบๆ ตวเขาได้ด้วย เมือเปนเช่นน้น อนดบแรก เราจะต้องคิดถึง
เรืองการพึงพาตนเองก่อน ไม่ใช่เพือเอาชนะสงคราม แต่เพือเอาชนะศตรและให้ศตร
ของคานธีหนมาเปนมิตรกบเรา นนถือว่าเปนความคิดของความไม่รนแรง สาเหตที
เราพยายามอธิบายเปนภาษาองกฤษ เพราะคาว่า ความไม่รนแรง (
non-violence
)
น้นมาจากภาษาสนสกฤตว่า
อหิงสา (
ahimsa
) ซึงหมายความวา ความรกทีมี
อานภาพ
ดงน้น คาว่า ความไม่รนแรงฟงดแล้วเปนคาในด้านลบ ซึงหมายถึงการไม่
มีความรนแรง แต่สาหรบคานธีแล้ว คาว่า ความไม่รนแรงมีพลงด้านบวกอย่างมาก
เมือคานธีอธิบายคานี้ด้วย
คาทีมีความหมายเหมือนกน (
synonyms
)
3 คา ได้แก่
เขาพดคาว่า
Satyagraha
เปนคาแรก ซึงหมายถึง
พลงแหงความจริง (
truth
force
)
คาทีสอง คือคาว่า
Satyagraha
ซึงหมายถึง
พลงแหงความรก (
love
force
)
และคาทีสามคือ คาว่า
Satyagraha
ซึงหมายถึง
พลงแหงจิตวิญญาณ
(
soul force
)
ความจริง ความรก และจิตวิญญาณทีนามารวมกนนี้ หมายถึง
Satyagraha
ซึงเปนคาจากดความทีแสดงความหมายกว้างๆ ของคาว่าความไม่
รนแรง
ในตอนนี้ ผมคงต้องลงในรายละเอียดเกียวกบความคิดของคานธี แต่ใน
ขณะเดียวกนผมกต้องพยายามทีไม่ให้ความคิดท้งหมดน้นหายไป ผมคงจะไม่โชคดี