แนวคิดการพึงพาตนเองของมหาตมา คานธี
51
แนวคิดการพึงพาตนเองของมหาตมา คานธี
(Mahatma Gandhi’s Self-Sufficiency Concept)
นายนาราย เดซาย
4 กมภาพนธ 2551
สวสดีครบทกท่าน นีถือว่าเปนคาทีแสดงความคิดในการเปนส่วนหนึงของ
กนและกน
ผมอาจจะกล่าวทกทายทกท่านด้วยคาภาษาฮินดว่าจย จากด
(
Jay Jagat
)
ซึงหมายถึง
“ชยชนะของโลก” (
Victory to the World
)
ไม่ใช่ชยชนะของประเทศ
หนึงและเปนความพ่ายแพ้ของอีกประเทศหนึง แต่เปนชยชนะของโลก
“
Jay Jagat
”
ตามที ฯพณฯ ลาธา เรดดี ้ ซึงเปน
กร
และนกพดทีมีลกษณะเฉพาะตนซึงพดก่อนผม
น้น ได้สมผสบางจดเกียวกบแนวคิดด้านเศรษฐกิจของท่านมหาตมา คานธี ผมจึง
อยากจะขอพดเสริมเกียวกบแนวคิดท้งหมดทีเกียวข้องกบความคิดของคานธี และ
ความคิดเกียวกบการพึงพาตนเองของคานธีในบริบทเช่นว่าน
้น
จดแรกทีผมอยากจะพดถึงคือ การไม่แบ่งความคิดของคานธีออกเปน
ส่วนๆได้แก่ ความคิดของคานธีเกียวกบเศรษฐกิจ การเมือง จิตวิญญาณ และอืนๆ
แตเราตองพิจารณาแนวคิดของคานธีแบบองครวม เราไมสามารถพิจารณา
คานธีเปนสวนๆ ทีแตกตางกนได
สาหรบคานธีแล้ว
เศรษฐกิจนนหางไกลจาก
ศีลธรรม
ซึงหมายความว่าการไร้ศีลธรรมหรือ เศรษฐกิจแบบไร้ศีลธรรม ดงน้น
ศีลธรรมและเศรษฐกิจจึงไปด้วยกน การเมืองและจิตวิญญาณกไปด้วยกน การแยก
รปแบบของความคิดทีแตกต่างกนคือ การแบ่งความจริง การแบ่งชีวิต และประเดน
แรกของผมคือ การปล่อยให้พวกเราคิดถึงแนวคิดของคานธีในภาพรวม
เมือคิดถึงต้นไม้ทีมาจากอินเดีย ผมจะคิดถึงต้นมะม่วง เมลดและราก
ลาต้นและกิงก้าน ดอกและผลของต้นไม้น้น สิงเหล่านี้ไม่สามารถแบ่งแยกออกจาก
กนได้ ท้ งหมดเปนส่ วนหนึ งของต้ นไม้ ด้ วยกนท้ งสิ้ น จิ ตวิญญาณของคานธี