Page 129 - แนวคิดและภูมปัญญาเล่ม1

This is a SEO version of แนวคิดและภูมปัญญาเล่ม1. Click here to view full version

« Previous Page Table of Contents Next Page »
เรียนร้อะไรจากชีวิตการต่อส้แบบสตยาเคราะห์ของมหาตมา คานธี
118
4.10
ภาษา
ในสมยน้น อินเดียยงไม่ได้กาหนดให้ภาษใดเปนภาษากลาง แต่ละรฐใช้
ภาษาของตนเอง มหาตมา คานธีเปนชาวคชราตท่านจึงพดภาษา คชราตเปนภาษา
แม่ แต่ท่านกสามารถพดภาษาฮินดี-อรดได้บ้าง ซึงท่านได้ใช้ภาษาอรดพดในที
ประชมสนนิบาตมสลิมในนครกลกตตา พดในทีประชมกบชาวมสลิมทางภาคเหนือ
ของอินเดีย หรือทีเดลลีใช้ภาษาฮินดี พดถกบ้างผิดบ้าง แต่สามารถสือสาระสาคญ
ในการอธิบายเหตผลต่างๆ ได้ ซึงดีกว่าทีจะใช้ภาษาองกฤษ
เพราะการใชภาษา
ของชาติตนเองแสดงถึงความเปนพวกเดียวกน เปน “คนใน” และเปนหนึง
เดียวกน
จากประสบการณ์ดงกล่าวทาให้ท่านคานธีเชือว่าน่าจะยกภาษาฮินดี-
อรด เปนภาษากลาง ต่อมารฐบาลอินเดียประกาศให้ใช้ภาษาฮินดีเปนภาษากลาง
ทวประเทศ
มหาตมา คานธีมีความเชียวชาญในด้านการเขียน การใช้ภาษาเปนอย่างดี
เนืองจากท่านมีประสบการณ์จากการเปนทนายความมาเปนเวลานาน ท่านได้ใช้
ความสามารถนี้ช่วยเหลือประเทศชาติ และพรรคคองเกรสในการร่างข้อบงคบ
มติของทีประชม พร้อมท้งคิดหาคาทีเหมาะสมกบผ้รบสารในการสือสารวลีใหม่ๆ
ทีใช้ในการต่อส้กบองกฤษ (แบบอหิงสา) แทนทีท่านจะสือด้วยภาษาสนสกฤต ท่าน
กลบเกรงว่าชาวมสลิมซึงเปนผ้รบสารอาจไม่ซาบซึ้งกบความหมาย ท่านจึงขอร้อง
เพือนร่วมงานชาวมสลิมให้ช่วยคิดหาคาทีมาจากภาษาอาหรบ – เปอร์เซียให้
เช่น
วลี “ไม่ใช้กาลง” > “บาอามาน”
วลี “ไม่ให้ความร่วมมือ” > “ตะรากีมะวาลต”
(กรณา-เรืองอไร กศลาสย 2538: 725)
ท้งนี้เพือให้ผ้รบสารชาวมสิมเกิดความซาบซึ้งและเข้าใจตรงกนมากขึ้น
ในด้านภาษาแสดงให้เหนถึงอานาจของผ้ปกครองทีใช้กบผ้ถกปกครองที
สะท้อนความคิดของผ้พดในด้านลบ โดยศึกษาผ่านคาหรือวลีทีปรากฏในเอกสาร
ต่างๆ เช่น ชาวองกฤษเรียกชาวอินเดียในแอฟริกาว่า “ไอ้พวกคนป่าเอเชียติค” ซึง
หมายถึงพวกทีมาจากเอเชียทียงไม่เจริญ