เพือให้เนื ้อหาสาระจากการสมมนาในคร้งนี้ยงคงอย่ และสามารถเผยแพร่
ต่อไปในวงกว้างได้อีก คณะผ้จดการสมมนาจึงได้จดทาหนงสือเล่มนี้ขึ้น โดยแบ่ง
หนงสือออกเปนสองตอน
ตอนที
1
ปาฐกถาและเสวนา
ประกอบด้วยเนื ้อหา
ต่อไปนี้
1) ประมวลเหตการณสาคญในชีวิตของมหาตมา คานธี โดยกรณา-
เรืองอไร กศลาสย
เปนการนาเสนอลาดบเหตการณ์ในชีวิตของมหาตมา คานธี
ตามลาดบต้งแต่เกิดจนเสียชีวิต
2) ประวติของรองศาสตราจารย ดร.เสรี พงศพิศ
วิทยากร
3)
“แนวพร ะ ร าชด า ริ เ ศรษฐกิ จพอ เ พี ยงของ ใ นหลว ง ”
โ ดย
รองศาสตราจารย ดร.เสรี พงศพิศ
4) ประวติวิทยากรทานนาราย เดซาย (
Narayan Desai
)
5) ปาฐกถาของทานนาราย เดซาย ในหวขอ "แนวคิดการพึ งพา
ตนเองของมหาตมา คานธี” ทงภาษาองกฤษและภาษาไทย
ท่านนาราย
กล่าวว่าการศึกษาแนวคิดคานธีควรทาแบบองค์รวม เศรษฐกิจควรมีศีลธรรม
กากบด้วย การเมืองและจิตวิญญาณกต้องไปด้วยกนซึงเปรียบได้กบองค์ประกอบ
ของต้นไม้ซึงประกอบด้วยกิง ก้าน ใบ ดอก ผล รากไม่สามารถแยกจากกนได้
จิตวิญญาณของคานธีเปรียบเหมือนเมลดและรากของต้นไม้ ส่วนลาต้น ดอก ผล
เปรียบได้กบความคิดทางเศรษฐกิจ และสงคมของคานธี การต่อส้แบบไม่ใช้ความ
รนแรงซึงเรียกว่าสตยาเคราะห์รวมเปนความคิดเดียว มหาตมา คานธี กล่าวว่าคน
ทีควบคมตนเองได้กจะควบคมโลกได้ สิงแรกทีต้องทาคือต้องพึงพาตนองให้ได้ก่อน
เพือเอาชนะศตร (องกฤษ) และให้ศตรมาเปนมิตรในทีสด ด้วยการต่อส้แบบไม่ใช้
ความรนแรงซึงตรงกบภาษาสนสกฤตว่า “อหิงสา” เปนพลงในด้านบวกทีมหาตมา
คานธี อธิบายคานี ้ด้วยความหมายเหมือนกน 3 คาได้แก่ ความจริง ความรก และ
จิตวิญญาณซึงอย่เหนือกาลเวลา
ผ้นาทางความคิดหลายท่านเปนผลิตผลของอดีต แต่ในเวลาเดียวกนกนา
มนษยชาติไปส่อนาคตด้วย ความคิดของท่านคานธีเชือมโยงจากอดีตไปส่อนาคต
และอนาคตทีเชือมโยงกบสิงทีมีอย่ในปจจบนคือโลกาภิวตน์ สาหรบท่านคานธี
โลกาภิวตน์ควรเปนครอบครวมากกว่าตลาดของโลก เพราะทาให้คนเกิดความ
ไว้วางใจกน และเปนส่วนหนึงของกนและกน โดยมีกฎระเบียบ 3 แนวคิดได้แก่
มนษย์กบตนเอง มนษย์กบเพือน และมนษย์กบธรรมชาติ
ในปจจบนเราต้องใช้พลงแห่งความจริงในบริบททางสงคมซึงหมายถึง
สนติภาพกบความยติธรรม การแก้ปญหาความขดแย้งทีไม่ใช้ความรนแรงคือใช้
พลงแห่งความรกทีหมายถึงการให้ และการเสียสละ