แนวคิดการพึงพาตนเองของมหาตมา คานธี
55
กบปญหาในอนาคต และแน่นอนว่าอาจจะมีปญหาเกิดขึ้นกบมนษยชาติทีมีความคิด
ต่างกน
อย่ างไรกตาม คานธี ชี้ ให้ เหนถึ งวิ ธี ที บคคลคนหนึ งควรจะพยายาม
แก้ปญหาทีอาจจะเกิดขึ้นในอนาคต สิงหนึงทีผมอยากจะชี้ให้ เหนและผมใช้คา
สนสกฤตเปนอนดบแรก เพราะผมพบว่าภาษาของคณน้น มีหลายคาทีรบมาจาก
ภาษาสนสกฤต แต่ออกเสียงต่างกน แต่อนดบแรกผมจะใช้คาภาษาสนสกฤตและ
พยายามทีจะแปลเปนภาษาองกฤษซึงไม่ใช่ภาษาของผม ทกๆ ความคิดทีมาจาก
บคคลยอดเยียม เช่นท่านมหาตมา คานธี มีความคิดบางอย่างทีสามารถใช้คาว่า
Tatva
หรือพื ้นฐานสาคญของบคคลผ้ยิงใหญ่เหล่าน้น อีกท้งยงมีความคิดอืนๆ ทีเรา
ใช้คาว่า
Tantra
หรือ สิงทีเกิดขึ้นโดยบงเอิญ เราควรจะแยกความแตกต่างระหว่าง
พื้นฐานสาคญกบสิงทีเกิดขึ้นโดยบงเอิญของนกคิดผ้ยิงใหญ่เหล่าน้น ในบางคร้ง
เมือเราเกิดความสบสนและเราจึงคิดได้ว่า “ใช่แล้ว คานธีเปนผ้ทาให้เขมนาฬิกา
เดินย้อนกลบ แต่ถ้าเราคิดถึงพื ้นฐานทีสาคญในหลกการทางความคิดของคานธี
ว่า ความรกล้าสมยได้หรือไม่? ความจริงล้าสมยได้หรือไม่? และจิตวิญญาณล้าสมย
ได้หรือไม่? ความจริง ความรกและจิตวิญญาณอย่นอกเหนือกาลเวลา และอย่
นอกเหนือระยะเวลา ส่ วนสิ งที เกิ ดขึ้ นโดยบงเอิญมาจากทางเทคนิค ซึ งเปน
เทคโนโลยีทีคานธีนาเสนอ สิงทีเกิดขึ้นโดยบงเอิญจะต้องมีการเปลียนแปลง คานธี
เองกพบกบความเปลียนแปลงในเทคโนโลยีของตน คานธีป่นด้ายด้วยวงล้อเลกๆ
และเขากพบวงล้อป่นด้ายขนาดใหญ่ แต่จริงๆ แล้วเขาหวงทีจะพบวิธีการทาง
เทคโนโลยีทีดีกว่านี้ วิธีการทางเทคโนโลยีทีคานธีจะพิจารณาเปนอนดบแรกคือ
ความอย่รอดของมนษย์ การเติบโตของมนษย์ในอนาคต ศกดิศรีของมนษย์ทีไม่ควร
ทาให้คน และไม่ควรเปลียนคนไปเปนการเชิญชวนให้อย่ในสงคมทีมีการปกครองโดย
ส่วนกลางที เปนระบบซึงไม่ เพียงแต่หมายถึงอตสาหกรรมเท่าน้น แต่ยงหมายถึง
อานาจ อานาจทางการเมือง และอานาจในการบริหาร การมีอานาจอย่ทีส่วนกลาง
จะทาให้คนถกเชิญชวน และการมีอานาจอย่ทีส่วนกลางนี้ เปนการให้ศกดิศรีกบ
มนษย์ และสิงเหล่านี้คือสิงทีคานธีต้องการทีจะให้ด้วยการอย่อย่างพอเพียง หรือ
การพึงพาตนเอง และเรากอยากจะเรียกเช่นน้น โดยการพึงพาตนเองน้นไม่จากดแค่
ปจเจกบคคล แต่มกจะหมายถึงปจเจกบคคลในสงคมจริงๆ ซึงคาสนสกฤตว่า
Atman
จะนามาใช้ในความหมายของ ตนเองของปจเจกบคคลและตนเองของสงคม
ซึงถือเปนคาทีธรรมดาสาหรบความหมายท้งสองความหมายนี้ ดงน้นจึงไม่มีความ