เปรม ปราณ ปั
ญจาบ
128
ตามเสาและระเบี
ยงก็
ประดั
บเป็
น
รู
ปดอกไม้
ที่
สวยงามเช่
นกั
น มี
เครื
อเถาพั
นไป
ตามความยาวของเสาหรื
อหลั
งคา และยั
ง
พบรู
ปสั
ตว์
อี
กไม่
น้
อยเช่
นกั
น เห็
นได้
ในบาง
บริ
เวณ โดยเฉพาะรู
ปสิ
งห์
โตกั
บช้
าง เจอรู
ป
สิ
งห์
โตกำลั
งกระโจนเข้
าใส่
ช้
าง จะตี
ความว่
า
อย่
างไรดี
สิ
งห์
โตหรื
อราชสี
ห์
มี
ความหมาย
พิ
เศษในหมู่
ชาวซิ
กข์
เพราะสิ
งห์
โตคื
อนาม
“ซิ
งห์
” หรื
อ “สิ
งห์
” ต่
อท้
ายนามของชาย
ชาวซิ
กข์
มี
ความหมายว่
าเป็
นบุ
รุ
ษผู้
รั
บ
อมฤต
เมื่
อได้
เข้
าไปภายในอาคารเช่
นใน
ห้
องสวดมนต์
ก็
มี
การตกแต่
งอย่
างงดงาม
และอลั
งการด้
วยหิ
นอ่
อนพร้
อมประดั
บลวด
ลายสวยงาม ขณะนั่
งอยู่
บนพื้
นก็
พยายามจะ
ดู
ลวดลายบนพื้
น พอๆ กั
บการแหงนมอง
บนเพดานซึ่
งตกแต่
งเป็
นลายดอกไม้
เป็
นสี
ๆ
แดง เขี
ยว น้
ำเงิ
น โดยตั
ดด้
วยลายเส้
นสี
ทอง ใช้
สี
ขาวเป็
นพื้
น นอกจากนี้
ยั
งมี
อี
ก
หลายจุ
ดที่
น่
าชม เพี
ยงแต่
ว่
าไม่
สามารถปื
น
ป่
ายขึ้
นไปชมได้
จึ
งต้
องกล่
าวคำว่
าเสี
ยดาย
ภายในห้
องหรื
อในอาคาร ในเวลา
ที่
พระอาทิ
ตย์
ยั
งคงส่
องแสงอยู่
นั้
น สถาปั
ต-
ยกรรมถู
กออกแบบให้
แสงแดดลอดเข้
าไป
สาดส่
องภายในห้
องได้
เมื่
อแสงกระทบกั
บ
ลวดลาย ก็
ดู
แล้
วขลั
งเอาเรื่
องที
เดี
ยว คลาสสิ
ค
ไปอี
กแบบหนึ่
ง แต่
มี
การใช้
แสงไฟจากหลอด
นี
ออนบ้
างเพื่
อให้
เกิ
ดความสว่
างภายใน ให้
ผู้
สู
งวั
ยสามารถนั่
งอ่
านบทสวดได้
อย่
างปกติ
การเดิ
นรอบๆ สระก็
มิ
วายจะต้
อง
เดิ
นก้
มดู
ลายบนพื้
น หรื
อไม่
ก็
แหงนมองดู
ตั
ว
อาคารชมสถาปั
ตยกรรม พอดี
ช่
วงฤดู
ร้
อน
มี
ปรั
บปรุ
งสถานที่
จะว่
าไปแล้
วมี
ทั้
งข้
อดี
ข้
อ
เสี
ย ที่
ว่
าเป็
นข้
อเสี
ยก็
เพราะไม่
ได้
เห็
นความ
สมบู
รณ์
ถ้
าตกแต่
งเสร็
จแล้
วจะสวยงามมาก
แต่
กลั
บเป็
นข้
อดี
เพราะทำให้
ได้
เห็
นวิ
ธี
การ
ตกแต่
ง ได้
เห็
นการซ่
อนสายไฟไว้
ในผนั
งปู
น
การซ่
อมแซมมุ
มเสาและเพดานมี
กรรมวิ
ธี
ที่
แตกต่
างไปจากไทย (แต่
บรรดาคนงานเดา
ว่
าน่
าจะมาจากรั
ฐอื่
น)
มองศิ
ลปะในสุ
วรรณวิ
หารแล้
ว
ชวนให้
หลงใหลในความสวยงามของลวด
ลายซึ่
งเน้
นความเป็
นธรรมชาติ
และเน้
น
ความเรี
ยบง่
าย แต่
อลั
งการสมนามศรี
สุ
วรรณวิ
หาร
ช้
าง เรี
ยกว่
า “ฮาธี่
” (hathi), ภ.ปั
ญจาบี
: , ภ.ฮิ
นดี
:
(ในภาษาไทย คุ้
นเคยกั
บคำว่
า ยุ
ทธหั
ตถี
หรื
อการรบบนหลั
งช้
าง)