Page 97 - แนวคิดและภูมปัญญาเล่ม1

This is a SEO version of แนวคิดและภูมปัญญาเล่ม1. Click here to view full version

« Previous Page Table of Contents Next Page »
เรียนร้อะไรจากชีวิตการต่อส้แบบสตยาเคราะห์ของมหาตมา คานธี
86
บริษทอีสท์ อินเดียขององกฤษเปนตวแทนของอานาจท้งทางการเมืองและ
เศรษฐกิจขององกฤษ และดแลผลประโยชน์อืนๆ ขององกฤษ ผ้บริหารทีเปนพ่อค้าจึง
ม่งเน้นแต่หาเงินซึงสามารถทากาไรได้อย่างมากมายและรวดเรว ทาให้เศรษฐกิจของ
อินเดียเกิดความหายนะ และสดท้ายท้งประเทศถกองกฤษยึดครอง
อินเดียตกอย่ภายใต้การปกครองขององกฤษต้งแต่ปีค.ศ. 1757-1947 รวม
เวลา 190 ปีทีอินเดียต้องได้รบความทกข์ยากลาบากแสนสาหสภายใต้การปกครอง
ของบริษทอีสท์ อินเดียขององกฤษ และรฐบาลองกฤษในทีสด ดงคากล่าวของ
Adam
Smith
(อ้างในยวาหระลาล เนห์ร 2545: 558) ว่า “รฐบาลทีบริหารงานโดยกล่ม
พ่อค้าโดยเฉพาะน้นน่าจะเปนรฐบาลทีเลวทีสดไม่ว่าจะเปนในประเทศใด”
2. ทาไมมหาตมา คานธีจึงตอสแบบสตยาเคราะห
วิธีการทีองกฤษปกครองอินเดีย รวมถึงแอฟริกาน้น องกฤษใช้ “อานาจ”
และ “ความครอบงา” ตามทศนะของแมกซ์ เวเบอร์ (อ้างในรตนา โตสกล 2548: 16)
แสดงถึงความสมพนธ์ทีไม่เท่าเทียมกนระหว่าง
ผใชอานาจ
คือเจ้าอาณานิคมองกฤษ
เพือให้ ได้ประโยชน์กบประเทศตนมากทีสดกบ
ผถกกระทา
คือชาวอินเดียท้งใน
ประเทศแอฟริกา และในประเทศอินเดีย อานาจจึงเปนเครืองมือของการครอบงา
ประเดนนี้ถือว่าเปนจดสาคญทีกระต้นให้มหาตมา คานธีต้องขดขืน ต่อต้าน และ
ท้ายสดลกขึ้นมาต่อส้เพืออิสรภาพ เสรีภาพของชาวอินเดีย
พฤติกรรมของผ้ปกครององกฤษทีทาตววางอานาจและใช้อานาจกบ
ชาวอินเดียด้วยการดถกเหยียดหยาม ออกกฎหมายจากดสิทธิชาวต่างชาติ (สีผิว)
โดยเฉพาะชาวอินเดียทีสามารถเดินทางไปทางานในแอฟริการได้อย่างเสรีซึงใช้บงคบ
ทีเมืองนาตาลในปีทีมหาตมา คานธีเดินทางส่แอฟริกาเปนคร้งแรก การออกกฎหมาย
ดงกล่าวเพราะองกฤษเกรงว่าการทีคนสีผิวจากอินเดียไปทางานในแอฟริกามากขึ้น
เรือยๆ จะไปรวมพลงกบชาวแอฟริกา (ซึงตกอย่ ในฐานะผ้ถกกระทาเหมือนกน)
ในจานวนทีมากขึ้นกว่าจานวนชาวผิวขาวทีอย่ทีนน ซึงอาจส่งผลให้เกิดการต่อต้าน
ทาให้การครอบงาในฐานะเจ้าอาณานิคมทาได้ยากขึ้น เมือมหาตมา คานธี ไปถึง
คร้งแรกกประสบกบเหตการณ์เรืองการดถกและกีดกนไม่ให้มีสิทธิเท่าเทียมกบคน
ผิวขาว